วันศุกร์ที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

biog , facebook , hi 5

Blog มาจากศัพท์คำว่า WeBlog บางคนอ่านคำ ๆ นี้ว่า We Blog บางคนอ่านว่า Web Log แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ทั้งสองคำบ่งบอกถึงความหมายเดียวกัน ว่านั่นคือบล็อก (Blog)

ความหมายของคำว่า Blog ก็คือการบันทึกบทความของตนเอง (Personal Journal) ลงบนเว็บไซต์ โดยเนื้อหาของ blog นั้นจะครอบคลุมได้ทุกเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องราวส่วนตัว หรือเป็นบทความเฉพาะด้านต่าง ๆ เช่น เรื่องการเมือง เรื่องกล้องถ่ายรูป เรื่องกีฬา เรื่องธุรกิจ เป็นต้น โดยจุดเด่นที่ทำให้บล็อกเป็นที่นิยมก็คือ ผู้เขียนบล็อก จะมีการแสดงความคิดเห็นของตนเอง ใส่ลงไปในบทความนั้น ๆ โดยบล็อกบางแห่ง จะมีอิทธิพลในการโน้มน้าวจิตใจผู้อ่านสูงมาก แต่ในขณะเดียวกัน บางบล็อกก็จะเขียนขึ้นมาเพื่อให้อ่านกันในกลุ่มเฉพาะ เช่นกลุ่มเพื่อน ๆ หรือครอบครัวตนเอง

มีหลายครั้งที่เกิดความเข้าใจกันผิดว่า Blog เป็นได้แค่ไดอารี่ออนไลน์ แต่ในความเป็นจริงแล้ว ไดอารี่ออนไลน์เปรียบเสมือน เนื้อหาประเภทหนึ่งของบล็อกเท่านั้น เพราะบล็อกมีเนื้อหาที่หลากหลายประเภท ตั้งแต่การบันทึกเรื่องส่วนตัวอย่างเช่นไดอารี่ หรือการบันทึกบทความที่ผู้เขียนบล็อกสนใจในด้านอื่นด้วย ที่เห็นชัดเจนคือ เนื้อหาบล็อกประเภท วิจารณ์การเมือง หรือการรีวิวผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่ตัวเองเคยใช้ หรือซื้อมานั่นเอง อีกทั้งยังสามารถ แตกแขนงไปในเนื้อหาในประเภทต่าง ๆ อีกมากมาย ตามแต่ความถนัดของเจ้าของบล็อก ซึ่งมักจะเขียนบทความเรื่องที่ตนเองถนัด หรือสนใจเป็นต้น

จุดเด่นที่สุดของ Blog ก็คือ มันสามารถเป็นเครื่องมือสื่อสารชนิดหนึ่ง ที่สามารถสื่อถึงความเป็นกันเองระหว่างผู้เขียนบล็อก และผู้อ่านบล็อกที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย ที่ชัดเจนของบล็อกนั้น ๆ ผ่านทางระบบ comment ของบล็อกนั่นเอง

ประวัติ facebook

เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2548 Mark Zuckerburg ได้เปิดตัวเว็บไซต์ facebook ซึ่งเป็นเว็บประเภท social network ที่ตอนนั้น เปิดให้เข้าใช้เฉพาะนักศึกษาของมหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ดเท่านั้น และเว็บนี้ก็ดังขึ้นมาในชั่วพริบตา เพราะแค่เพียงเปิดตัวได้สองสัปดาห์ ครึ่งหนึ่งของนักศึกษาที่เรียนอยู่ที่มหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด ก็สมัครเป็นสมาชิก facebook เพื่อเข้าใช้งานกันอย่างล้นหลาม และเมื่อทราบข่าวนี้ มหาวิทยาลัยอื่น ๆ ในเขตบอสตั้นก็เริ่มมีความต้องการ และอยากขอเข้าใช้งาน facebook บ้างเหมือนกัน มาร์คจึงได้ชักชวนเพื่อของเค้าที่ชื่อ Dustin Moskowitz และ Christ Hughes เพื่อช่วยกันสร้าง facebook และเพียงระยะเวลา 4 เดือนหลังจากนั้น facebook จึงได้เพิ่มรายชื่อและสมาชิกของมหาวิทยาลัยอีก 30 กว่าแห่ง

ไอเดียเริ่มแรกในการตั้งชื่อ facebook นั้นมาจากโรงเรียนเก่าในระดับมัธยมปลายของมาร์ค ที่ชื่อฟิลิปส์ เอ็กเซเตอร์ อะคาเดมี่ โดยที่โรงเรียนนี้ จะมีหนังสืออยู่หนึ่งเล่มที่ชื่อว่า The Exeter Face Book ซึ่งจะส่งต่อ ๆ กันไปให้นักเรียนคนอื่น ๆ ได้รู้จักเพื่อน ๆ ในชั้นเรียน ซึ่ง face book นี้จริง ๆ แล้วก็เป็นหนังสือเล่มหนึ่งเท่านั้น จนเมื่อวันหนึ่ง มาร์คได้เปลี่ยนแปลงและนำมันเข้าสู่โลกของอินเทอร์เน็ต

บางคนก็ใช้ติดต่อเพื่อน บางคนก็บอกว่าเล่นเกมได้ บางคนก็ใช้ในการโฆษณาประชาสัมพันธ์

หลากหลายเหตุผล จนเราคิดว่า เออ ไม่น่าจะพลาดกระแสนี้กับเขา อยากจะมี account facebook บ้าง
ไม่ยากครับ ลองอ่านบทความ วิธีการสมัคร facebook สำหรับ มือใหม่ ทุกท่าน แล้วรับรองว่า ได้ใช้งาน facebook กันอย่างแน่นอน

แต่สิ่งที่ท่านต้องมีก่อน จะสมัคร มีดังต่อไปนี้นะครับ
1.
อีเมล์ที่ใช้งานได้จริง
2.
ประวัติส่วนตัว ของตัวเอง
3. Computer
ที่สามารถต่อ อินเตอร์เน็ตได้ (จะเป็น notebook ก็ได้นะครับ ไม่ว่ากัน)
4.
ตัวคุณเองนั่นแหละครับ

เอาล่ะ พร้อมหรือยังครับ ไปกันเลย!

1.เข้าไปที่หน้าแรก ของ facebook คุณจะเห็นหน้าเว็บอันสวยงาม อย่าเพิ่งมัวตะลึงนะครับ ให้ click ปุ่ม Sign Up เข้าไปเลย เพื่อเริ่มต้นขั้นตอนการสมัคร เอา account ของ facebook

2. ต่อไปก็กรอกชื่อของคุณนะครับ พร้อมกับอีเมล์ที่ใช้งานได้จริง ที่อยู่ วันเกิด และอย่าลืมใส่สถานะด้วยนะครับ ว่ากำลังเรียนอยู่ หรือ ทำงานแล้ว ใน Section “I am”

3. ต่อไปก็เลือก รหัสผ่าน ตอนกรอกก็อย่าตั้งให้ง่ายๆ จำได้ หรือจะตั้งยากๆ แต่ก็ต้องจำให้ดีๆ ละครับ ขอให้มีตัวอักษร 6 ตัวขึ้นไป ก็พอแล้วครับ

4. ขั้นตอนต่อมา ก็ให้ใส่ตัวอักษรตามภาพที่เห็นนะครับ (อาจจะยากหน่อย แต่ทำมาเพื่อกันการ Spam จากคนไม่หวังดี ชอบมา register มั่วๆ) เห็นยังไง ก็พิมพ์ไปตามนั้นครับ ออกแนวยึกยือพอสมควร

5. ก็เหมือนการสมัครใช้บริการทาง internet ทั่วๆไป ครับ หากมีเวลาก็ลองอ่าน Terms of User และ Privacy Policy (ที่คนเราไม่ค่อยจะอ่านกันนัก) ถ้าคิดว่ายาวจัด และจะมาอ่านวันหลัง ก็ให้ติ๊กถูกยอมรับ ข้อบังคับนี้ไปก่อนเลยครับ (ใส่ทั้งสองอันเลยนะครับ)

6.ปราการด่านสุดท้าย ก็คือ การกดปุ่มสมัคร ครับ กดไปเลย ถ้ามั่นใจทำได้ทุกอย่าง กดได้เลยครับ “Sign Up Now!” (อยู่ด้านล่างๆ ของหน้าสมัครนะ

ครับ) หลังจากนั้น ก็รอให้ ระบบหาเราไปยังหน้าแสดงขอบคุณ (ก็ได้สมาชิกใหม่อย่างเราไป ก็ต้องมีขอบคุณเป็นธรรมดา)

ปล หากเราพลาดใส่ข้อมูลในส่วนใหนไป ระบบจะแสดงข้อความ ให้เรากลับไปกรอกในส่วนที่ขาด หรือ ระบบต้องการอีกครั้ง อย่าตกใจนะครับ เพราะ

ว่าเขาจะบอกอย่างชัดเจน ว่าขาดอะไรบ้าง ใส่ไปให้ครบ แล้วจะสมัครได้เองครับ

7. เอาล่ะ หลังจากตกลงปลงใจ เป็นส่วนหนึ่งใน network ของ facebook แล้ว ก็ไปเช็คเมล์ยืนยัน ที่ส่งมาโดยอัตโนมัติ หลังการสมัคร
หากจะถามว่า อีเมล์ใหน ก็อีเมล์ที่เราใช้ในสมัครในแบบฟอร์มเมื่อกี้แหละครับ

เมื่อหาเจอแล้ว ให้คลิก link ซึ่งทาง facebook ได้ส่งมาให้ เพื่อทำการ activate หากว่าเปิดใน inbox แล้วไม่เจอ ลองไปหาใน กล่อง junk mail

นะครับ เพราะบางครั้ง อีเมล์ อาจจะมองว่า อีเมล์ยืนยันนี้ เป็น Spam mail ก็เป็นได้

ครบถ้วนทุกขั้นตอนแล้ว ก็จะได้พบเพื่อนใหม่ๆ ใน facebook แล้วนะครับ
เอาล่ะ สมัครกันให้ผ่านทุกคนนะครับ

Hi5 คืออะไร?

Hi5 เป็นระบบอินเตอร์เน็ตออนไลน์ที่มีการเชิญเพื่อนจากรายชื่อเพื่อนในอีเมล ต่างๆสมัครเข้ามาเป็นเพื่อนของเรา โดยระบบจะทำการแอดเมล์เพื่อนให้ รูปแบบทั่วไปภายใน Hi5 จะมีทั้งการโชว์รูปภาพ เพื่อฟรีเซ็นต์ตัวเอง เราได้แสดงความเป็นตัวตนของเราอย่างภาคภูมิใจ ด้วยการสร้างและตกแต่ง Hi5 ของเราด้วย ของแต่ง Hi5 ไม่ว่าจะเป็น รูปภาพ , Skin ,Wallpaper , ดุ๊กดิ๊ก , Cursor , ภาพเคลื่อนไหว และของแต่ง Hi5 อื่นๆ อีกมากมายมีพื้นที่ให้เขียนเรื่องราวส่วนตัวด้วย
วิธี สมัครก็ทำได้ด้วยวิธีง่ายๆคือคลิกเข้าไปที่ www.hi5.com คลิกที่ปุ่ม Sign Up ระบบจะถามชื่อและรหัสผ่านให้ใส่ไปตามที่สมาชิกต้องการระบบจะลิงห์ข้อมูลเข้า ไปในอินเตอร์เน็ตทั่วโลก หรือใครได้รับ
อีเมล จากเพื่อนชวนไปสมัครยิ่งเร็วมากขึ้น เพราะระบบออนไลน์จะทำการหาเพื่อนให้มาเป็นสมาชิก และยังมีรายชื่อสมาชิกคนอื่นๆ อยู่ในลิสต์เพียงเรา แค่คลิกคำว่า “ Add” สมาชิกคนอื่นๆ ก็จะมาเป็นเพื่อนกับเราได้โดยอัตโนมัติ หรือถ้าเราสมัครตรงจากเว็บ Hi5 ระบบนี้ก็จะไปเชิญชวนเพื่อนๆ และคนรู้จักของเพื่อนๆ มาเป็นเพื่อนเราเหมือนกัน

Hi5 เป็นเหมือนตู้ ปณ.อย่างหนึ่งที่วัยรุ่นใช้เขียนข้อความส่งถึงกัน และเมื่อใครได้รับข้อความจากเพื่อนก็จะส่งข้อความตอบกลับเพื่อนสลับกันไปมา
Hi5
เข้ามาในประเทศไทยเมื่อปี พ.. 2546 ขณะนั้นยังไม่มีลูกเล่นหรือการตกแต่งที่หลากหลาย เป็นเพียงพื้นที่ว่างสำหรับโชว์รูปภาพเพียงอย่างเดียว แต่ในปีพ.. 2550 ที่ผ่านมา Hi5ได้รับความนิยมสูงสุด ทางเว็บไซต์ที่เป็นเจ้าของจึงปรับโฉมใหม่ให้ Hi5 ดูน่าสนใจมากยิ่งขึ้นโดยเพิ่มมัลติมีเดีย มีสไลด์โชว์รูป ลงคริปวีดีโอ เขียนไดอารี่ และคอมเมนท์รูปภาพเข้าไปให้วัยรุ่นเข้าไปเล่นมากขึ้น และเป็นช่องทางขายสื่อโฆษณาภายในเว็บไซต์ไปด้วยซึ่งธุรกิจนี้กำลังเป็นที่ จับตามองของนักลงทุนหลายราย



« เมื่อ: ตุลาคม 04, 2008, 01:09:49 pm »


ขั้นตอนและวิธีการสมัคร hi5 นั้นง่ายมากๆ มาเริ่มกันเลย

1.)
เข้าไปที่เว็บไซต์ www.hi5.com
2.)
คลิกที่ปุ่ม Sign Up เพื่อสมัครค่ะ



3.)
จะพบว่ามีหน้าให้กรอกรายละเอียดอยู่ 3 หน้า ให้กรอกรายละเอียดให้ครบ ดังนี้
-
หน้าแรกหัวข้อ Name & E-mail ให้กรอก ชื่อ-นามสกุล , อีเมล์ และ ตั้งรหัสผ่าน

- หน้าที่ 2 Personal Information หรือ ข้อมูลส่วนตัว เลือกข้อมูลส่วนตัว ดังนี้ เพศ , วันเกิด , ภาษาที่ใช้(English) , ประเทศที่เราอยู่ , เมืองที่เราอยู่

- หน้าที่ 3 Upload A Photo หรือ การเลือกรูปแทนตัวเราค่ะ คลิกปุ่ม Browse เพื่อเลือกรูปแทนตัวเรา ซึ่งไฟล์รูปต้องเป็นไฟล์ นามสกุล jpg , gif , .bmp หรือ png และขนาดไฟล์รูปภาพต้องไม่เกิน 10 MB เรียบร้อยแล้วคลิกที่ปุ่ม Upload ค่ะ













วันเสาร์ที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

keywrod

คำสั่ง IP Config
เป็นคำสั่งที่ใช้ตรวจสอบไอพีแอดเดรสของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการตระกูล Windows โดยมันจะแสดงค่า IP Address, Subnet Mask, Gate Way, DNS Server และข้อมูลอื่นๆ แต่สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการตระกูล Unix ใช้คำสั่ง ifconfig
1.เข้า Start และเข้า Run
2.พิมพ์ cmd
3.พิมพ์ ipconfig
คำสั่ง ipconfig/all
จะคล้ายกับคำสั่ง ipconfig แต่จะมีข้อมูลของ Host name,Primary Dns,Node Type,IP Routing,
1.เข้า Start และเข้า Run
2.พิมพ์ cmd
3.พิมพ์ ipconfig/all
คำสั่ง Ping
คำสั่ง Ping เป็นคำสั่งพื้นฐานที่สุดคำสั่งหนึ่งสำหรับเน็ตเวิร์ก คำสั่ง ping เป็นคำสั่งที่ใช้ตรวจสอบเวลาที่ใช้ในการเดินทางของแพ็กเก็ตระหว่างต้นทางกับปลายทาง
จะทำการส่งข้อมูลจากเครื่องของเรา ไปเครื่องที่เราระบุปลายทาง เมื่อถึงปลายทางจะส่งข้อมูลกลับมาว่า ค่าความเร็วในการส่งข้อมูล มีความเร็วมกาน้อยเท่าไหร่ (Delay time) ยิ่งเวลามากการส่งข้อมูลจากต้นทางถึงปลายทางจะยิ่งช้าไปด้วย
1.เข้า Start และเข้า Run
2.พิมพ์ cmd
3.พิมพ์ ping ตามด้วยปลายทางที่ต้องการตรวจสอบ
(เช่น ping www.cs.ssru.ac.th ดังตัวอย่าง)
คำสั่ง ping -t
คำสั่ง Ping ปลายทาง -t คล้ายกับคำสั่ง ping แต่จะมีการส่งข้อมูลแบบไม่หยุดนะครับ
จะทำการส่งข้อมูลจากเครื่องของเรา ไปเครื่องที่เราระบุปลายทาง แบบไม่หยุด
ปลายทางจะส่งข้อมูลมาว่าค่าความเร็วในการส่งข้อมูล มีความเร็วมกาน้อยเท่าไหร่ (Delay time) ยิ่งเวลามากการส่งข้อมูลจากต้นทางถึงปลายทางจะยิ่งช้าไปด้วย
1.เข้า Start และเข้า Run
2.พิมพ์ cmd
3.พิมพ์ ping ตามด้วยปลายทางที่ต้องการตรวจสอบ -t
(เช่น ping www.cs.ssru.ac.th –t ดังตัวอย่าง)
คำสั่ง Traceroute
เป็นคำสั่งที่ใช้ตรวจสอบเส้นทางการวิ่งของแพ็กเก็ตว่ามันวิ่งผ่านเร้าเตอร์ ตัวไหนบ้าง โดยโปรแกรม Tracert จะรายงานออกมาเป็นชื่อโดเมนเนม เราสามารถที่จะกำหนดให้มันแสดงออกมาเป็นไอพีแอดเดรสก็ได้เช่นกัน นอกจากนี้คำสั่งTracertให้เราทราบชื่อคเรื่องปลายทางได้
เปรียบเทียบความเร็วระหว่างเว็ปในประเทศกับเว็ปต่างประเทศ
คำสั่ง route print
ใช้เพื่อแสดง เพิ่ม-ลบ และเปลี่ยนแปลงค่าใน route Table
คำสั่ง Arp
ใช้สำหรับแสดงข้อมูลในตาราง ARP นอกจากนั้นยังทำการเพิ่ม-ลบ และเปลี่ยนแปลงค่าในตาราง ARP ได้อีกด้วย
1.เข้า Start และเข้า Run
2.พิมพ์ cmd
3.พิมพ์Arp -a
คำสั่ง netsatat
Netstat เป็นคำสั่งที่มีอยู่ทั้งบน Unix และ Windows ใช้เพื่อตรวจดูสถานะทาง TCP และ UDP บนเครื่องของเรา
TCPเป็นการส่งข้อมูลได้แน่นอนและข้อมูลไม่สูญหาย แต่ถ้าใช้ UDP การส่งข้อมูลจะไม่แน่นอนหากมีการผิดพลาดต้องส่งใหม่
คำสั่ง nslookup
ใช้สำหรับสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ DNS ของไอพีแอดเดรสหรือโดเมนเนมที่เราสนใจ ซึ่งใช้คำสั่ง nslookup แล้วตามด้วย server ns.ksc.co.th
คำสั่ง FTP
เป็นทั้งชื่อโปรแกรมและโปรโตคอลที่ใช้สำหรับการถ่ายโอนไฟล์ข้อมูลต่างๆ ระหว่างเครื่องที่เปิดบริการ FTP โดยเครื่อง FTP Client จะทำการคอนเน็กทาง TCP port 21 คำสั่งที่มักนิยมใช้ได้แก่
Ls แสดงรายชื่อไฟล์
CD ย้ายไดเรอทอรี
Bin เพื่อเตรียมการก่อนถ่ายโอนไฟล์ที่เป็นไบนารี
Asc เพื่อเตรียมการก่อนถ่ายโอนไฟล์เป็นแอสกี
Get,Mget เพื่อถ่ายโอนไฟล์จากเซิร์ฟเวอร์มาไว้บนเครื่องของเรา
Put ,Mput เพื่อถ่ายโอนไฟล์จากเครื่องของเราไปยัง server
Bye ทำการปิดคอนเนกชัน
http://www.blogger.com/post-edit.g?blogID=67737396171541907&postID=1470630434961871046

การใช้งานคำสั่ง UNIX เบื้องต้น
http://wap.itnstep.net/index.wml http://itnstep.net/
กล่าวนำก่อนเข้าเรื่อง
ระบบปฏิบัติการ (Operating System) คือ กลุ่มของคำสั่งที่ร่วมกันทำงาน เพื่อควบคุมการทำงานของ Hardware และ software Applucation อื่นๆ ของคอมพิวเตอร์ เราอาจจะแบ่ง OS ตามลักษณะการใช้งานออกเป็น 2 จำพวกคือ 1.Single-User เป็น OS ที่ในขณะใดขณะหนึ่งจะให้บริการแก้ผู้ใช้เพียงคนเดียว เป็นระบบปฏิบัติการขนาดเล็ก สะดวกในการควบคุมการทำงาน เช่น DOS Windows95/98 ฯลฯ 2.Multi-User เป็น OS ที่ให้ผู้ใช้มากกว่าหนึ่งคนเข้าทำงานได้พร้อม ๆ กัน โดยการต่อออกเป็น terminal ย่อยๆ ใช้กับระบบขนาดใหญ่ เป็น OS ที่ไม่ยึดติดกับระบบเครื่องระบบใดระบบหนึ่ง เป็น OS ที่เป็น Multi-user และ Multi-tasking เช่น Unix , Novell , Linux , SunOS ฯลฯหน้าที่ของ OS ที่เป็น Multi User I/O คือการนำเข้าและจัดเก็บข้อมูลลงบนอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ เช่น การบันทึกลง disk หรือการแสดงผลทาง จอภาพหรือ พริ้นเตอร์ การจัดการข้อมูล คือการจัดเก็บข้อมูลเป็นไฟล์(files)หรือรวมกันเป็น directory Command คือคำสั่งที่จะให้ผู้ใช้พิมพ์ให้ คอมพิวเตอร์ประมวลผล Time Sharing การบริหารเวลาสำหรับการทำงานพร้อมกันหลายๆ งานหรือหลายๆ คนโปรแกรมที่ช่วยในการพัฒนาโปรแกรม เช่น Complier ต่างที่มีอยู่บน OS แต่ละตัว เช่นใน linux ก็จะมีภาษาต่างๆเช่น C , C++ และอื่นๆอีกหลายภาษาระบบความปลอดภัยของข้อมูลของแต่ละ user ที่คนอื่นไม่สามารถเข้ามากระทำได้โดยมิได้รับอนุญาตการติดต่อกันเป็นเครือข่ายเพื่อใช้ทรัพยากรร่วมกัน
คำสั่ง
คำสั่ง telnetเป็นคำสั่งที่เปลี่ยน host ที่ใช้อยู่ไปยัง host อื่น (ใน Windows 95 ก็มี) รูปแบบ $ telnet hostnameเช่น c:> telnet student.rit.ac.th เปลี่ยนไปใช้ host ชื่อ student.rit.ac.th $ telnet 202.44.130.165 เปลี่ยนไปใช้ host ที่มี IP = 202.44.130.165$ telnet 0 telnet เข้า host ที่ใช้อยู่นะขณะนั้นเมื่อเข้าไปได้แล้วก็จะต้องใส่ login และ password และเข้าสู่ระบบยูนิกส์นั้นเอง คำสั่ง ftpftp เป็นคำสั่งที่ใช้ถ่ายโอนไฟล์ข้อมูลจากที่หนึ่ง ไปยังอีกที่หนึ่ง โดยการติดต่อกับ host ที่เป็น ftp นั้นจะต้องมี user name และมี password ที่สร้างขึ้นไว้แล้ว แต่ก็มี ftp host ที่เป็น public อยู่ไม่น้อยเช่นกัน ดังนั้นจะมี user name ที่เป็น publicเช่นกัน คือ user ที่ชื่อว่า anonymous ส่วน password ของ user anonymous นี้จะใช้เป็น E-mail ของผู้ที่จะ connect เข้าไปและโปรแกรมส่วนใหญ่ก็จะอยู่ใน directory ชื่อ pub รูปแบบ $ ftp hostnameเช่น c:windows> ftp wihok.itgo.com$ ftp ftp.nectec.or.thคำสั่ง ftp จะมีคำสั่งย่อยที่สำคัญๆ ได้แก่ftp> help ใช้เมื่อต้องการดูคำสั่งที่มีอยู่ใในคำสั่ง ftpftp> open hostname ใช้เมื่อต้องการ connect ไปยัง host ที่ต้องการftp> close ใช้เมื่อต้องการ disconnect ออกจาก host ที่ใช้งานอยู่ftp> bye หรือ quit ใช้เมื่อต้องการออกจากคำสั่ง ftp ftp> ls หรีอ dir ใช้แสดงชื่อไฟล์ที่มีอยู่ใน current directory ของ host นั้น ftp> get ใช้โอนไฟล์ทีละไฟล์จาก host ปลายทางมายัง localhost หรือเครื่องของเรานั้นเอง ftp> mget ใช้โอนไฟล์ทีละหลายๆไฟล์จาก host ปลายทางมายัง localhostftp> put ใช้โอนไฟล์ทีละไฟล์จาก localhost ไปเก็บยัง host ปลายทางftp> mput ใช้โอนไฟล์ทีละหลายๆไฟล์จาก localhost ไปเก็บยัง host ปลายทางftp> cd ใช้เปลี่ยน directory ftp> delete และ mdelete ใช้ลบไฟล์ คำสั่ง lsมีค่าเหมือนกับ คำสั่ง dir ของ dosรูปแบบ $ ls [-option] [file]option ที่สำคัญl แสดงแบบไฟล์ละบรรทัด แสดง permission , เจ้าของไฟล์ , ชนิด , ขนาด , เวลาที่สร้าง a แสดงไฟล์ที่ซ่อนไว้ ( dir /ah) p แสดงไฟล์โดยมี / ต่อท้าย directory F แสดงไฟล์โดยมีสัญญลักษณ์ชนิดของไฟล์ต่อท้ายไฟล์คือ / = directory * = execute file @ = link file ld แสดงเฉพาะ directory (dir /ad) R แสดงไฟล์ที่อยู่ใน directory ด้วย (dir /s) เช่น$ ls$ ls -la คำสั่ง moreแสดงข้อมูลทีละหน้าจอ อาจใช้ร่วมกับเครื่องหมาย pipe line ( ) หากต้องการดูหน้าถัดไปกด space ดูบรรทัดถัดไปกด Enter เช่น$ ls -la more$ more filename คำสั่ง catมีค่าเหมือนกับ คำสั่ง type ของ dos ใช้ดูข้อมูลในไฟล์ เช่น$ cat filename คำสั่ง clearมีค่าเหมือนกับ คำสั่ง cls ของ dos ใช้ลบหน้าจอ terminal ให้ว่าง$ clear คำสั่ง dateใช้แสดง วันที่ และ เวลา$ date 17 May 1999 คำสั่ง cal ใช้แสดง ปฏิทินของระบบ รูปแบบ $ cal month year เช่น$ cal 07 1999 คำสั่ง lognameคำสั่งแสดงชื่อผู้ใช้ขณะใช้งาน$ lognameคำสั่ง id ใช้แสดงชื่อและกลุ่มมของผู้ใช้งาน$ id คำสั่ง tty แสดงหมายเลข terminal ที่ใช้งานอยู่$ tty คำสั่ง hostnameคำสั่งแสดงชื่อเครื่องที่ใช้อยู่$ hostname คำสั่ง uname คำสั่งแสดง ชื่อและรุ่นของ OS ชื่อและรุ่นของ cpu ชื่อเครื่อง$ uname -a คำสั่ง history คำสั่งที่ใช้ดูคำสั่งที่ใช้ไปแล้วก่อนหน้านี้ $ historyเวลาเรียกใช้ต้องมี ! แล้วตามด้วยหมายเลขคำสั่งที่ต้องการ คำสั่ง echo และ banner$ echo "Hello" ใช้แสดงข้อความ "Hello" ขนาดปกติ$ banner "Hello" ใช้แสดงข้อความ "Hello" ขนาดใหญ่ คำสั่ง who , w และ fingerใช้แสดงว่าใครใช้งานอยู่บ้างขณะนั้น$ who$ w$ finger ดูผู้ใช้ที่ host เดียวกัน $ finger @daidy.bu..ac.th ดูผู้ใช้โดยระบุ Host ที่จะดู$ finger wihok ดูผู้ใช้โดยระบุคนที่จะดูลงไป$ who am i แสดงชื่อผู้ใช้ เวลาที่เข้าใช้งาน และ หมายเลขเครื่อง$ whoami เหมือนกับคำสั่ง logname คำสั่ง pwd แสดง directory ที่เราอยู่ปัจจุบัน$ pwd คำสั่ง mkdirใช้สร้าง directory เทียบเท่า MD ใน DOS$ mkdir dir_name คำสั่ง cp ใช้ copy ไฟล์หนึ่ง ไปยังอกไฟล์หนึ่ง รูปแบบ $ cp [-irfp] file_source file_targetoption -i หากมีการทับข้อมูลเดิมจะรอถามก่อนที่จะทับoption -r copy ไฟล์ทั้งหมดรวมทั้ง directory ด้วยoption -f ไม่แสดงข้อความความผิดพลาดออกหน้าจอoption -p ยืนยันเวลาและความเป็นเจ้าของเดิม$ cp file_test /tmp/file_test คำสั่ง mvใช้ move หรือเปลี่ยนชื่อไฟล์รูปแบบ $ mv [-if] file_source file_targetความหมายของ option เช่นเดียวกับ cp$ mv index.html main.html เปลี่ยนชื่อไฟล์ index.html เป็น main.html คำสั่ง rmใช้ลบไฟล์หรือ directory โดยที่ยังมีข้อมูลภายในเทียบเท่า del และ deltree ของ dosรูปแบบ $ rm [-irf] filename$ rm -r dir_name ลบ dir_name โดยที่ dir_name เป็น directory ว่างหรือไม่ว่างก็ได้$ rm -i * ลบทุกไฟล์โดยรอถามตอบ คำสั่ง rmdirใช้ลบ directory ที่ว่าง เทียบเท่ากับ rd ของ Dos$ rmdir dir_name คำสั่ง aliasใช้ย่อคำสั่งให้สั้นลง $ alias l = ls -l$ alias c = clear คำสั่ง unaliasใช้ยกเลิก alias เช่น$ unalias c คำสั่ง type ใช้ตรวจสอบว่าคำสั่งที่ใช้เก็บอยู่ที่ใดของระบบรูปแบบ $ type command$ type clear คำสั่ง findใช้ค้นหาไฟล์ที่ต้องการ เช่น $ find /usr/bin -name "*sh" -print หาไฟล์ที่ลงท้ายด้วย sh จาก /usr/bin คำสั่ง grep ใช้คนหาข้อความที่ต้องการจากไฟล์ $ grep ข้อความ file คำสั่ง manman เป็นคำสั่งที่เป็นคู่มือการใช้คำสั่งแต่ละคำสั่งเช่น$ man ls$ man cp คำสั่ง write ใช้ส่งข้อความไปปรากฎที่หน้าจอของเครื่องที่ระบุในคำสั่งไม่สามารถใช้ข้าม host ได้เช่น $ write s0460003 คำสั่ง mesg $ mesg ดู status การรับการติดต่อของ terminal$ mesg y เปิดให้ terminal สามารถรับการติดต่อได้$ mesg n ปิดไม่ให้ terminal สามารถรับการติดต่อได้ คำสั่ง talk ใช้ติดต่อสื่อสารแบบสองทาง เหมือนกับการคุยโดยผู้ส่ง ๆ ไปแล้วรอการตอบกลับจาก ผู้รับ สามารถหยุดการติดต่อโดย Ctrl + c สามารถใช้ข้าม host ได้รูปแบบ $ talk username@hostname คำสั่ง pineใช้อ่านและส่งจดหมายข้างในจะมี menu ให้ใช้คำสั่ง tarใช้สำหรับ รวมไฟล์ย่อยให้เป็นไฟล์ Packet คล้ายๆกับการ zip หลายๆไฟล์ให้เป็นไฟล์เดียวแต่ขนาดไฟล์ไม่ได้ลดลงอย่างการ zip โดยไฟล์ output ที่ได้จะตั้งชื่อเป็น filename.tar หรือการแตกไฟล์ packet จาก filename.tar ให้เป็นไฟล์ย่อยมักจะใช้คู่กับ gzip หรือ compress เพื่อทำการลดขนาด packet ให้เล็กลงรูปแบบการใช้$ tar -option output input-option ประกอบด้วย -cvf , -tvf , -xvf แสดงดังด้านล่างoutput คือ ไฟล์.tar หรืออาจจะเป็น device เช่น tape ก็ได้input คือ ไฟล์หรือกลุ่มไฟล์หรือ directory หรือรวมกันทั้งหมดที่กล่าวมา$ tar -cvf Output_file.tar /home/myhome/*Option -cvf ใช้สำหรับการรวมไฟล์ย่อยไปสู่ไฟล์ .tar จากตัวอย่าง รวมไฟล์ทุกไฟล์ที่อยู่ใน /home/myhome/ เข้าสู่ไฟล์ชื่อ Output_file.tar $ tar -tvf filename.tarOption -tvf ใช้แตกไฟล์ .tar เป็นไฟล์ย่อยๆแบบ preview คือแสดงให้ดูไม่ได้แตกจริงอาจใช้คู่กับ คำสั่งอื่น เพื่อให้ได้ประโยชน์ตามต้องการ เช่น tar -tvf filename.tar more$ tar -xvf filename.tarOption -xvf ใช้แตกไฟล์ .tar เป็นไฟล์ย่อยๆ โดยจะแตกลง ณ current directory คำสั่ง gzipใช้ zip หรือ Unzip ไฟล์ packet โดยมากแล้วจะเป็น .tar เช่น$ gzip filename.tar ผลที่ได้จะได้ไฟล์ซึ่งมีการ zip แล้วชื่อ filename.tar.gz$ gzip -d filename.tar.gz ใช้ unzip ไฟล์ผลที่ได้จะเป็น filename.tar คำสั่ง Compress และ Uncompressหลังจากการ compress แล้วจะได้เป็นชื่อไฟล์เดิมแต่ต่อท้ายด้วย .Z การใช้งานเหมือนกับ gzip และ gzip -d เช่น $ compress -v file.tar จะได้ไฟล์ชื่อ file.tar.Z โดย Option -v จะเป็นการ verify การ compress$ uncompress -v file.tar.Z
Operating System Component
1.Kernel คือหัวใจของระบบจะควบคุมการทำงานภายในทั้งหมดของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น การเตรียมทรัพยากรต่างๆของระบบ การจัดเก็บข้อมูล การบริหารหน่วยความจำ การควมคุมอุปกรณ์ต่างๆที่ต่ออยู่ ตัว kernel จะขึ้นกับ ชนิดของเครื่องดังนั้นเราต้องใช้ kernel คนละตัวกันหากใช้เครื่องคนละตระกูลกัน 2.File System (FS) คือโครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลในฮาร็ดดิสก์ เพื่อให้ OS สามารถอ่านเขียน ใช้ไฟล์ที่ต้องการได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยที่ OS แต่ละตัวจะมี FS ที่แตกต่างกัน เช่น Operating System File System DOS/Windows95 FAT12,FAT16 Windows98/95-osr FAT12,FAT16,FAT32 Windows NT NTFS,FAT16,HPFS OS/2 FAT12,FAT16,HPFS Linux EXT2,VFAT,HPFS,NTFS,etc.SunOS UFS ฯลฯ ฯลฯ หมายเหตุ เนื่องจาก Linux ใช้ File System แบบ Ext2 (Extended Files System 2) จึงทำให้ Linux สามารถมองเห็นดิสก์ก้อนที่ใหญ่มากมีขนาดถึง 4 เทราไบต์(Tbytes) หรือขนาด 4000 Gbytes นั้นละ 3.Shell เป็น command Interpreter เป็นตัวกลางติดต่อระหว่าง user กับ kernel คอยรับคำสั่งที่จะพิมพ์เข้าไปแล้วแปลคำสั่งนั้นต่อไป นอกจากนี้แล้วยังสามารถที่จะนำเอาคำสั่งต่างๆ มาเขียนเป็นโปรแกรมเรียกว่า Shell Script และ shell ยังสามารถกำหนดทิศทาง Input / Output ได้ด้วย การเปลี่ยนทิศทางจะมีเครื่องหมายที่จำเป็นคือ > การเปลี่ยนทิศทางของ output< การเปลี่ยนทิศทางของ input>> การเปลี่ยนทิศทางของ output ไปต่อท้ายไฟล์ การทำงานผ่าน shell มี 2 ลักษณะคือ Synchronous execution เป็นการทำงานตามลำดับของคำสั่งทีละคำสั่งจนเสร็จแล้วจึงจะขึ้น prompt เพื่อป้อนคำสั่งต่อไป เรียกว่าการทำงานแแบบฉากหน้า ( foreground mode) เช่น$ ls -l (เป็นการ list ดูไฟล์แบบยาวใน directory ปัจจุบัน) Asynchronous execution จะทำงานตามคำสั่งโดยที่งานเก่าจะเสร็จแล้วหรือยังไม่เสร็จก็ตามแต่ shell จะกำหนด prompt และสร้าง shell ใหม่ขึ้นมาเพื่อรองรับงานใหม่ต่อไป เรียกว่าการทำงานแบบฉากหลัง (background mode) การทำงานแบบนี้ทำได้โดยเติมเครื่องหมาย ampersand (&) ไว้ที่ท้ายคำสั่งนั้นเช่น$ netscape & (เรียกโปรแกรม netscape แล้วขึ้น prompt โดยไม่ต้องรอให้ออกจาก netscape ก่อน)Shell ที่นิยมใช้ Bourne Shell (sh) เป็น starndard shell ที่มีใใน unix ทุกตัวสามารถย้าย shell script ไปยัง unix ระบบอื่นได้โครงสร้างเป็นแบบ Algol สามารถใช้งาน Procedure ได้ จะมี default prompt เป็น "$"C Shell (csh) มีโครงสร้างคล้ายภาษา C ทำงานได้ดีกว่า bourne shell มีไฟล์ที่เก็บคำสั่งที่ใช้ไปแล้ว ทำงานกับ shell script ของ bourne shell ไม่ได้ default prompt เป็น "%"Korn Shell (ksh) ทำงานได้ดีกว่า sh และ csh แต่ไม่ได้มีใน unix ทุกตัว ksh มีขนาดใหญ่กว่า shell อื่น ๆ เขียน shell script ได้ง่ายขึ้นและรัดกุม เป็น Standard IEEE PDSIX 1003.2 default prompt เป็น "$"Bourne Again Shell (bash) เป็นการพัฒนา sh ให้สามารถมีแฟ้มคำสั่งที่ใช้ไปแล้ว และเพิ่มขีดความสามารถเพิ่มขึ้นอีกหลายอย่าง (default of Linux) default prompt เป็น "$" ฯลฯ 4.Utilities คำสั่งต่างที่ทำงานได้บน ระบบงาน unix จึงทำให้ kernel มีขนาดเล็ก เพราะจะมีเฉพาะหน้าที่สำคัญเท่านั้น ประเภทของไฟล์ใน Unixไฟล์ในระบบยูนิกซ์นั้นจะขึ้นอยู่กับผู้สร้างยูนิกซ์แต่ละตัวซึ่งมีทั้งแตกต่างและเหมือนกัน และการตั้งชื่อไฟล์ในระบบยูนิกซ์ส่วนใหญ่จะสามารถตั้งชื่อได้ยาวถึง 255 ตัวอักษรโดยที่ตัวอักษรตัวเล็ก และตัวอักษรตัวใหญ่นั้นมีความแตกต่างกัน สามารถใช้ตัวเลขหรือขีดเส้นใต้ร่วมด้วยก็ได้ แต่ไม่ควรใช้เครื่องหมายเหล่านี้มาตั้งชื่อ เช่น ^ " ' , - ? ] () ~ ! $ @ # <> $ / และหากไฟล์ใดที่ตั้งชื่อขึ้นต้นด้วยจุด "." จะทำให้ไฟล์นั้นเป็น hidden file คือไฟล์ที่ถูกซ่อนไว้ จะไม่สามารถมองเห็นได้โดยใช้คำสั่งทั่วไปจะต้องมี option เพิ่มเติม Regular files คือไฟล็ทั่วไปที่สร้างขึ้นได้ด้วย Text Editor หรืออาจจะสำเนามาจากไฟล์อื่น หรืออาจจะเป็นโปรแกรมใช้งานต่างๆก็ได้ Directory files คือไฟล์ที่เก็บไฟล์ทั่วไปหรือจะเก็บไฟล์ที่เป็น Directory ด้วยกัน ที่เรียกว่า Sub Directory ก็ได้ โดยที่ Directory บนสุด (root) ของ ยูนิกซ์จะแทนด้วย " / " Special files เป็นไฟล์พิเศษจะมีอยู่สองแบบคือ Character device file และ Block device file ทั้งสองแบบจะเป็นไฟล์ device driverโดยส่วนใหญ่จะเก็บไว้ที่ /dev แต่ไฟล์ทั้งสองจะแตกต่างกัน ที่การรับส่งข้อมูล นั่นคือ Character device file จะรับส่งข้อมูลที่ละตัวอักษร แต่ Block device file จะรับส่งข้อมูลเป็นบล็อกUnix demain seckets ใน BSD Unix หรือ Name pipes ใน AT&T UnixSymbolic Link files หรือไฟล์เชื่อมต่อ การเชื่อมต่อของไฟล์มี 2 ลักษณะคือ 1. Hard Link การเชื่อมต่อแบบนี้จะใช้ I-node เดียวกับไฟล็ต้นฉบับ เหมือนกับมีการสร้างไฟล์ใหม่ แต่ใช้ค่า I-node เดิม และ I-node จะมีตัวนับจำนวนไฟล์ที่เชื่อมต่อด้วย หากแก้ไขไฟล์ใดไฟล์หนึ่งจะมีผลกระทบส่งถึงกัน เพราะข้อมูลเก็บที่เดียวกัน แต่ข้อมูลต้องอยู่ที่ partition เดียวกัน ทำให้ประหยัดเนื้อที่ สามารถอ้างถึงข้อมูลได้จากหลายๆที่ 2. Symbolic Link การเชื่อมต่อแบบนี้จะสร้าง I-node ของตัวเองขึ้นมาใหม่ เหมือนกับ shutcut ของ windows 95 โดยที่หากเปลี่ยนแปลงต้นฉบับจะมีผลกับ link file แต่หากลบ link file จะไม่มีผลใดๆต่อไฟล์ต้นฉบับ สามารถใช่ได้ทั้งที่อยู่ partition เดียวกัน หรือต่าง partition กันก็ได้เราสามารถที่จะแยกประเภทของไฟล์ต่างได้โดยใช้คำสั่ง ls -l แล้วจะแสดงสัญลักษณ์ โดยจะแสดงดังนี้Type Sysbol Create Remove Text file - cp , mv ,etc rm Directory p mkdir rm -r , rmdir Character device v mknod rm Block device b mknod rm Unix domain socket s socket rm Name pipes p mknod rm link file l ln -s rm โครงสร้างไฟล์ไดเรคเทอรีของระบบยูนิกซ์ส่วนใหญ่จะเป็นแบบ Filesystem Hierarchy Standard (FHS) โดยการจัดลำดับชั้นจะเป็นแบบต้นไม้หัวกลับ โดยเริ่มจากชั้นแรกที่เป็น ราก หรือ root เขียนแทนด้วย / ไฟล์แต่ละไฟล์อาจจะสร้างขึ้นมาเองหรือเป็นโปรแกรมก็ได้ ไฟล์ลักษณะนี้จะเป็นไฟล์ไดเรคเทอรี การจัดไฟล์ระบบนี้จะทำให้การจัดไฟล์เป็นระบบ ง่ายต่อการดูแลรักษา โดยจะมีโครงสร้างหลักเป็นดังนี้ / เป็นไดเรคเทอรี root ที่เก็บไฟล์ kernel ของระบบ/bin เป็นไดเรคเทอรีที่ใช้เก็บคำสั่งทั่วไปของระบบ/dev เป็นไดเรคเทอรีที่ใช้เก็บไฟล์ที่เกี่ยวกับอุปกรณ์ต่างๆ/etc เป็นไดเรคเทอรีที่ใช้เก็บไฟล์ที่เป็น config files ของเครื่อง/etc/X11 เป็นไดเรคเทอรีที่ใช้เก็บไฟล์ที่เป็น config files ของ x windows/etc/skel เป็นไดเรคเทอรีที่ใช้เก็บไฟล์ที่เป็นไฟล์ต้นฉบับที่จะถูกสำเนาไปยัง home user /lib เป็นไดเรคเทอรีที่ใช้เก็บไฟล์ไลบรารี สำหรับให้โปรแกรมต่างๆเรียกใช้/sbin เป็นไดเรคเทอรีที่ใช้เก็บไฟล์คำสั่งของผู้ดูแลระบบ/usr เป็นไดเรคเทอรีที่ใช้เก็บไฟล์โปรแกรมของผู้ใช้ทั่วไป/var เป็นไดเรคเทอรีที่ใช้เก็บไฟล์ข้อมูลทั่วไปของระบบประเภทของไฟล์ใน Unixไฟล์ในระบบยูนิกซ์นั้นจะขึ้นอยู่กับผู้สร้างยูนิกซ์แต่ละตัวซึ่งมีทั้งแตกต่างและเหมือนกัน และการตั้งชื่อไฟล์ในระบบยูนิกซ์ส่วนใหญ่จะสามารถตั้งชื่อได้ยาวถึง 255 ตัวอักษรโดยที่ตัวอักษรตัวเล็ก และตัวอักษรตัวใหญ่นั้นมีความแตกต่างกัน สามารถใช้ตัวเลขหรือขีดเส้นใต้ร่วมด้วยก็ได้ แต่ไม่ควรใช้เครื่องหมายเหล่านี้มาตั้งชื่อ เช่น ^ " ' , - ? ] () ~ ! $ @ # <> $ / และหากไฟล์ใดที่ตั้งชื่อขึ้นต้นด้วยจุด "." จะทำให้ไฟล์นั้นเป็น hidden file คือไฟล์ที่ถูกซ่อนไว้ จะไม่สามารถมองเห็นได้โดยใช้คำสั่งทั่วไปจะต้องมี option เพิ่มเติม Regular files คือไฟล็ทั่วไปที่สร้างขึ้นได้ด้วย Text Editor หรืออาจจะสำเนามาจากไฟล์อื่น หรืออาจจะเป็นโปรแกรมใช้งานต่างๆก็ได้ Directory files คือไฟล์ที่เก็บไฟล์ทั่วไปหรือจะเก็บไฟล์ที่เป็น Directory ด้วยกัน ที่เรียกว่า Sub Directory ก็ได้ โดยที่ Directory บนสุด (root) ของ ยูนิกซ์จะแทนด้วย " / " Special files เป็นไฟล์พิเศษจะมีอยู่สองแบบคือ Character device file และ Block device file ทั้งสองแบบจะเป็นไฟล์ device driverโดยส่วนใหญ่จะเก็บไว้ที่ /dev แต่ไฟล์ทั้งสองจะแตกต่างกัน ที่การรับส่งข้อมูล นั่นคือ Character device file จะรับส่งข้อมูลที่ละตัวอักษร แต่ Block device file จะรับส่งข้อมูลเป็นบล็อกUnix demain seckets ใน BSD Unix หรือ Name pipes ใน AT&T UnixSymbolic Link files หรือไฟล์เชื่อมต่อ การเชื่อมต่อของไฟล์มี 2 ลักษณะคือ 1. Hard Link การเชื่อมต่อแบบนี้จะใช้ I-node เดียวกับไฟล็ต้นฉบับ เหมือนกับมีการสร้างไฟล์ใหม่ แต่ใช้ค่า I-node เดิม และ I-node จะมีตัวนับจำนวนไฟล์ที่เชื่อมต่อด้วย หากแก้ไขไฟล์ใดไฟล์หนึ่งจะมีผลกระทบส่งถึงกัน เพราะข้อมูลเก็บที่เดียวกัน แต่ข้อมูลต้องอยู่ที่ partition เดียวกัน ทำให้ประหยัดเนื้อที่ สามารถอ้างถึงข้อมูลได้จากหลายๆที่ 2. Symbolic Link การเชื่อมต่อแบบนี้จะสร้าง I-node ของตัวเองขึ้นมาใหม่ เหมือนกับ shutcut ของ windows 95 โดยที่หากเปลี่ยนแปลงต้นฉบับจะมีผลกับ link file แต่หากลบ link file จะไม่มีผลใดๆต่อไฟล์ต้นฉบับ สามารถใช่ได้ทั้งที่อยู่ partition เดียวกัน หรือต่าง partition กันก็ได้เราสามารถที่จะแยกประเภทของไฟล์ต่างได้โดยใช้คำสั่ง ls -l แล้วจะแสดงสัญลักษณ์ โดยจะแสดงดังนี้Type Sysbol Create Remove Text file - cp , mv ,etc rm Directory p mkdir rm -r , rmdir Character device v mknod rm Block device b mknod rm Unix domain socket s socket rm Name pipes p mknod rm link file l ln -s rm โครงสร้างไฟล์ไดเรคเทอรีของระบบยูนิกซ์ส่วนใหญ่จะเป็นแบบ Filesystem Hierarchy Standard (FHS) โดยการจัดลำดับชั้นจะเป็นแบบต้นไม้หัวกลับ โดยเริ่มจากชั้นแรกที่เป็น ราก หรือ root เขียนแทนด้วย / ไฟล์แต่ละไฟล์อาจจะสร้างขึ้นมาเองหรือเป็นโปรแกรมก็ได้ ไฟล์ลักษณะนี้จะเป็นไฟล์ไดเรคเทอรี การจัดไฟล์ระบบนี้จะทำให้การจัดไฟล์เป็นระบบ ง่ายต่อการดูแลรักษา โดยจะมีโครงสร้างหลักเป็นดังนี้ / เป็นไดเรคเทอรี root ที่เก็บไฟล์ kernel ของระบบ/bin เป็นไดเรคเทอรีที่ใช้เก็บคำสั่งทั่วไปของระบบ/dev เป็นไดเรคเทอรีที่ใช้เก็บไฟล์ที่เกี่ยวกับอุปกรณ์ต่างๆ/etc เป็นไดเรคเทอรีที่ใช้เก็บไฟล์ที่เป็น config files ของเครื่อง/etc/X11 เป็นไดเรคเทอรีที่ใช้เก็บไฟล์ที่เป็น config files ของ x windows/etc/skel เป็นไดเรคเทอรีที่ใช้เก็บไฟล์ที่เป็นไฟล์ต้นฉบับที่จะถูกสำเนาไปยัง home user /lib เป็นไดเรคเทอรีที่ใช้เก็บไฟล์ไลบรารี สำหรับให้โปรแกรมต่างๆเรียกใช้/sbin เป็นไดเรคเทอรีที่ใช้เก็บไฟล์คำสั่งของผู้ดูแลระบบ/usr เป็นไดเรคเทอรีที่ใช้เก็บไฟล์โปรแกรมของผู้ใช้ทั่วไป/var เป็นไดเรคเทอรีที่ใช้เก็บไฟล์ข้อมูลทั่วไปของระบบPERMISSION ยูนิกซ์เป็นระบบ OS ที่ใช้ไฟล์ต่างๆ ร่วมกันหากทุกคน มีสิทธิที่จะกระทำต่อทุกไฟล์เท่ากัน ย่อมจะทำให้เกิดความวุ่นวาย ดังนั้นในระบบยูนิกซ์จึงมี user id และ group id ประจำ user แต่ละคน จึงทำให้ที่ home directory ของแต่ละ user จะเป็นที่ ที่ user แต่ละคนมีสิทธิมากที่สุด เมื่อ user สร้างไฟล์ขึ้นมาก็จะทำให้ มีชื่อของผู้สร้างติดอยู่ด้วย การจำกัดสิทธิการเข้าถึงไฟล์ออกเป็น 3 กลุ่มคือOwner เจ้าของไฟล์หรือผู้ที่สร้างไฟล์Group ผู้ใช้กลุ่มเดียวกับผู้ใช้ไฟล์ คือ ผู้ใช้ที่มี gid เดียวกับเจ้าของไฟล์Other คนอื่นๆหรือใครก็ได้
สิทธิในไฟล์จะประกอบไปด้วย Read Permission สิทธิในการอ่าน แทนด้วย rWrite Permission สิทธิในการเขียน แทนด้วย wExecute Permission สิทธิในการ Run แทนด้วย xuser สามารถที่จะดู Permission ของไฟล์และชนิดของไฟล์ได้โดยคำสั่ง $ ls -la-rwxr--r-- 1 wihok Special 5223 May 12 10:10 .profile -rwxr--r-- 1 wihok Special 2022 May 12 10:13 .kshrcdrwx------ 2 wihok Special 1024 May 12 10:34 mail -rw-r--r-- 1 wihok Special 11211 May 12 11:01 testจากตัวอย่างจะเห็นว่า มีทั้งหมด 7 filed ดังนี้Fieldความหมาย1 File Type และ Permission 2 จำนวน link 3 เจ้าของ (owner) 4 กลุ่ม (group) 5 ขนาดของไฟล์ (byte) 6 วัน-เวลาที่ update 7 ชื่อไฟล์ มาดูกันที่ field ที่ 1 ที่เป็น Permission โดย อักษรตัวที่ 1 แสดงชนิดของไฟล์อักษรตัวที่ 2-4 แสดง Owner อักษรตัวที่ 5-7 แสดง Groupอักษรตัวที่ 8-10 แสดง Otherเช่นจากตัวอย่าง ไฟล์ .kshrc มี permission เป็น -rwxr--r-- หมายความว่า Owner สามารถที่จะ อ่าน เขียน และ Run ได้ แต่ user กลุ่มเดียวกับ owner และ other อ่านได้เพียงอย่างเดียว สังเกตุได้ว่าหากไม่มี permission จะแสดงด้วย --------------------------------------------------------------------------------คำสั่งเปลี่ยน Permissionการเปลี่ยน permission ของไฟล์กระทำได้โดยผู้ที่เป็น Admin ของระบบ หรือเจ้าของไฟล์นั้น โดยมีคำสสั่งคือ 1.คำสั่ง chmod ใช่เปลียน permission ของไฟล์มีวิธีการเปลี่ยนได้ 2 วิธี คือ Absolute Permission รูปแบบ $ chmod ตัวเลข filenameโดยสามารถหาตัวเลขที่มาใส่ได้จากการแทนค่าน้ำหนักของแต่ละบิทลงไปคือบิท r แทนน้ำหนักด้วย 4 บิท w แทนน้ำหนักด้วย 2บิท x แทนน้ำหนักด้วย 1บิท - แทนน้ำหนักด้วย 0โดยหากต้องการให้ permission ใดก็แทนค่าของบิทนั้นลงไปแล้วนำเลขน้ำหนักของแต่ละบิทมารวมกัน (คิดทีละส่วนโดยแยกเป็น owner , group และ other) เช่นจะกำหนดสิทธิไฟล์ test ให owner สามารถอ่าน เขียน และ Run ได้ group สามารถอ่านและ run ได้ ส่วน other สามารถ run ได้เพียงอย่างเดียวคิดได้ดังนี้Permission rwx r-x --xNumber 7 5 1 ใช้คำสั่ง : $ chmod 751 test Relative Permissionผู้ใช้ไฟล์ เครื่องหมาย สิทธิ u (เจ้าของไฟล์) + เพิ่มสิทธิ r (อ่าน) g (กลุ่มเดียวกับเจ้าของไฟล์) - ลดสิทธิ w (เขียน) o (คนทั่วไปใครก็ได้) = กำหนดสิทธิ x (Run) a (ทุกคนทุกกลุ่มที่กล่าวมา) เช่นจะเปลี่ยน permission ของไฟล์ .kshrc จาก rwxr--r-- เป็น rwxrw-r--$ chmod g+w .kshrcหรือจะเปลี่ยน permission ของไฟล์ .profile จาก rwxr--r-- เป็น rwxrw-rw-$ chmod go+w .profile 2.คำสั่ง chown ใช้เปลี่ยนผู้เป็นเจ้าของไฟล์ เช่น$ chown newuser test คือเปลี่ยน field ที่ 3 จากการใช้คำสั่ง ls -la จากเจ้าของเดิมคือ wihok เป็น newuser 3.คำสั่ง chgrp ใช้เปลี่ยนกลุ่มผู้เป็นเจ้าของไฟล์ เช่น$ chgrp newgroup test คือเปลี่ยน field ที่ 4 จากการใช้คำสั่ง ls -la จากเจ้าของเดิมคือ Special เป็น newgroupText EditorText Editor ที่ใช้ในระบบยูนิกซ์ที่เห็นบ่อยคือ โปรแกรม pico และโปรแกรม vi แต่ pico ไม่ได้มมีอยู่ใใน unix ทุกตัว การใช้งานง่าย ไม่ต้องจำคำสั่งต่างเพราะมีอธิบายอยู่แล้วที่ด้านล่างหน้าจอภาพ สามารถพิมพ์ text ได้เลย แต่ text editor ที่ชื่อ vi จะเป็น text editor ที่มีอยู่ในทุกยูนิกซ์ การใช้งานค่อนข้างยาก ดังนั้นผู้เขียนจะแนะนำเฉพาะการใช้ vi เท่านั้น การเรียกใช้งาน text editor$ pico filename หรือ $ pico$vi filename หรือ $ viการใช้งาน vivi เป็น text editor ที่มีบนยูนิกซ์ จะแบ่งการทำงานออกเป็น 3 mode คือ Command Mode เป็นการทำงานของการเคลื่อนย้าย cursor ( editor ตัวอื่นจะใช้คีย์ลูกศร ,Home ,End ,insert , delete แต่ใน vi คีย์เหล่านี้จะไม่มีผล ) Edit Mode เป็นการทำงานของการแก้ไขข้อความ Last Line Mode เป็นการ save , open , quit , ค้นหา , ฯลฯ การเปลี่ยน mode ใน vi จะใช้ปุ่ม Esc ยกเว้นเปลี่ยนไปสู่ Last line Mode จะต้องกด Esc แล้วกด Shift + : จะปรากฎ : ที่บรรทัดล่างสุดCommand Modeการทำงานใน mode นี้จะเป็นการเคลื่อนย้ายเคอเซอร์ไปยังตำแหน่งที่ต้องการ แต่หากย้ายไปตำแหน่งที่ไม่มีข้อมูล มันจะส่งเสียงเตือน ตัวอักษรที่ใช้ใน mode นี้ที่สำคัญได้แก่h เลื่อน cursor ไปทางซ้ายทีละตัวอักษร j เลื่อน cursor ลง 1 บรรทัด k เลื่อน cursor ขึ้น 1 บรรทัด l เลื่อน cursor ไปทางฃวาทีละตัวอักษร w เลื่อน cursor ไปทางฃวาทีละคำ b เลื่อน cursor ไปทางซ้ายทีละคำ $ เลื่อน cursor ไปท้ายบรรทัด 0 เลื่อน cursor ไปต้นบรรทัด nG ไปยังบรรทัดที่ n หากไม่ใส่ n จะไปบรรทัดสุดท้าย Ctrl+f เลื่อน cursor ลง 1 หน้าจอ Ctrl+b เลื่อน cursor ขึ้น 1 หน้าจอ Ctrl+L Refresh หน้าจอ [[ ไปยังต้นไฟล์ ]] ไปยังท้ายไฟล์ ััyy Copy ข้อความทั้งบรรทัด ัyw Copy ข้อความทั้งคำ ัyG Copy ถึงท้ายไฟล์ y$ Copy ถึงท้ายบรรทัด p Paste หลัง cursor P Paste หน้า cursor cw พิมพ์ทับทีละ word c$ พิมพ์ทับจนถึงท้ายบรรทัด cG พิมพ์ทับจนถึงท้ายไฟล์ r พิมพ์ทับทีละ 1 ตัว R พิมพ์ทับจนกว่าจะกด Esc u Undo การกระทำครั้งล่าสุด x ลบตรง cursor X ลบหน้า cursor dw ลบคำ dd ลบบรรทัด d$ ลบจาก cursor จนท้ายบรรทัด d0 ลบจาก cursor จนต้นบรรทัด dG ลบจาก cursor จนท้ายไฟล์ Edit Modeตัวอักษรที่ใช้ใน mode นี้ที่สำคัญได้แก่a เพิ่มข้อมูลต่อจาก cursor A เพิ่มข้อมูลต่อจากท้ายบรรทัด i เพิ่มข้อมูลหน้า cursor I เพิ่มข้อมูลที่ต้นบรรทัด o แทรกบรรทัดด้านล่าง cursor O แทรกบรรทัดด้านบน cursor Last Line Modeการใช้งาน mode นี้ก็กด Esc แล้วกด : ก็จะปรากด : ที่ท้ายบรรทัด และสามารถที่จะป้อนคำสั่งต่อไปนี้ได้:q! quit :w! save :wq! save and quit :w! filename save as filename :e! filename open filename :/string ค้นหาข้อความที่ต้องการ :help ดูคำสั่งต่างๆ :set nu แสดงหมายเลขบรรทัด :set nonu ไม่แสดงหมายเลขบรรทัด

NETSTAT [-a] [-e] [-n] [-s] [-p proto] [-r] [interval]

-a
Displays all connections and listening ports.
-e
Displays Ethernet statistics. This may be combined with the -s option.
-n
Displays addresses and port numbers in numerical form.
-p
proto Shows connections for the protocol specified by proto; proto may be TCP or UDP. If used with the -s option to display per-protocol statistics, proto may be TCP, UDP, or IP.
-r
Displays the routing table.
-s
Displays per-protocol statistics. By default, statistics are shown for TCP, UDP and IP; the -p option may be used to specify a subset of the default.
interval
Redisplays selected statistics, pausing interval seconds between each display. Press CTRL+C to stop redisplaying statistics. If omitted, netstat will print the current configuration information once.
Examples
netstat
Displays all local network information. Below is an example of what may be displayed.
Proto
Local Address
Foreign Address
State
TCP
hope:4409
www.computerhope.com:telnet
ESTABLISHED
TCP
hope:3708
multicity.com:80
CLOSE_WAIT
TCP
hope:4750
www.google.com:80
CLOSE_WAIT
netstat 5
Running netstat with a number after the command will continue to run the command until stopped. In this case netstat would be refreshed ever five seconds. To cancel press CTRL + C.
Notice: Keep in mind that if you have network applications open, such as the browser you're using to view this page, additional items will be listed when you run "netstat" and/or the "netstat -a" command. So you may see items from Computer Hope in your list; if you want a true listing of what is running in the background, close all programs and run the command.
http://www.blogger.com/post-edit.g?blogID=67737396171541907&postID=1470630434961871046


คำสั่ง tracert
เป็นคำสั่งที่ใช้ตรวจสอบเส้นทางการวิ่งของแพ็กเก็ตว่ามันวิ่งผ่านเร้าเตอร์ ตัวไหนบ้าง โดยโปรแกรม Traceroute จะรายงานออกมาเป็นชื่อโดเมนเนม เราสามารถที่จะกำหนดให้มันแสดงออกมาเป็นไอพีแอดเดรสก็ได้เช่นกัน นอกจากนี้คำสั่ง traceroute อาจจะทำให้เราสามารถทราบชื่อเครื่องปลายทางได้
http://cs.ssru.ac.th/puvanate/internet/BasicCommand2.html

คำสั่ง Ping
การ ping เป็นการทดสอบว่าเส้นทางสื่อสารจากเครื่องที่ใช้อยู่ไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นในเครือข่าย ว่ายังใช้การได้อยู่หรือไม่ โดยสามารถพิมพ์ชื่อเครื่อง หรือหมายเลข IPAddress ของเครื่องที่ต้องการทดสอบ หรือเว็บไซต์ที่ต้องการทดสอบก็ได้
วิธีการใช้คำสั่ง ping สำหรับเครื่องที่ใช้ Windows
วิธีที่ 1. ใช้ Dos prompt1) โดย เลือก Start -->Programs -->MS-DOS Prompt ให้พิมพ์คำว่า ping ตามด้วย ชื่อเครื่องหรือหมายเลข IPAddress ของเครื่อง ตัวอย่างเช่น ping 203.151.239.2 เป็นการทดสอบเส้นทางระหว่างเครื่องที่เราใช้กับ เครื่องที่มี IP 203.151.239.2
ping http://www.rayongwit.net/เป็นการทดสอบเส้นทางระหว่างเครื่องที่เราใช้กับเว็บไซต์ www.rayongwit.net

2) การ สังเกตผล ถ้าผลเป็นดังรูปด้านล่างมีคำตอบว่า " Reply from 203.151.239.2 " หมายความว่าเส้นทางสื่อสารระหว่างเครื่องที่เราใช้กับเครื่อง www.rayongwit.net ปกติดี เครือข่ายระหว่างเครื่องทั้งสองนั้นเชื่อมต่อกันสมบูรณ์แล้ว
คำว่า 0% loss หมายความว่าเส้นทางสื่อสารไม่มีการสูญหายของข้อมูลเลย (ดี)นอกจากนี้ ยังแสดงถึง เวลาที่ข้อมูลใช้ในการวิ่งไปยัง www.rayongwit.net มี 3 ค่า คือค่าต่ำสุด ค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด จากการทดสอบจำนวน 4 ครั้ง โดยมีหน่วยเป็น ms (เศษหนึ่งส่วนพันวินาที) ถ้าผลเป็นแบบที่ 2 ดังรูปบนมีคำตอบว่า "Request timed out" แสดงว่าเครือข่ายระหว่างเครื่องที่ใช้งานกับเครื่องที่ ping ยังไม่เชื่อมต่อถึงกัน ควรตรวจสอบสายและ HUB ต่าง ๆ หรืออีกกรณีหนึ่งเครื่องปลายทางมีปัญหา
วิธีที่ 2. จาก Windows คลิกปุ่ม Start -> Run พิมพ์ ping แล้วตามด้วย IP ของเครื่องที่ต้องการทดสอบ ดังรูป
การทดสอบแบบไม่จำกัดจำนวนครั้งการทดสอบเส้นทางสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย 2 เครื่อง ด้วยคำสั่ง ping แบบไม่จำกัดจำนวนครั้ง จะใช้คำสั่งดังนี้ ping -t ตามด้วยชื่อเครื่องหรือหมายเลข IP ของเครื่องที่จะทดสอบ เช่น ping -t 203.151.239.2 ดังรูป
และผลจากการใช้คำสั่งดังกล่าวจะได้ดังรูป
ซึ่งจะทำการทดสอบสายสื่อสารและแจ้งผลไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะกดแป้น CTRL+C เพื่อที่จะหยุดการทดสอบ
http://www.se-ed.net/hacking/net_ping.html

วันอาทิตย์ที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2551

1.ประเภท http://www.helloya1.8m.com/b.htm
2.ทิศทาง http://www.thaigoodview.com/node/2029
3.รูปแบบ http://www.pbj.ac.th/THAIWBI/ict7.htmlการเดินทางข้อมูล
4.องค์ประกอบ ส่วนประกอบต่าง ๆ เช่น ผู้ส่ง ผู้รับ
ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Sutad kedsiri
63 75 74 61 64 A4 65 64 73 69 72 69

สุทัศน์ เกษศิริ

สุทัศน์ เกษศิริ คอม ฯ ศึกษา 4922122103 0874514905